Thank...you

+++ขอบคุณสำหรับการเข้ามาชมบล็กนะค่ะ+++

วันจันทร์ที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2551

วันพฤหัสบดีที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Neige



La neige est une forme de précipitation, constituée de glace cristallisée et agglomérée en flocons pouvant être ramifiés d'une infinité de façons. Puisque les flocons sont composés de petites particules, ils peuvent avoir aussi bien une structure ouverte et donc légère qu'un aspect plus compact voisin de celui de la grêle. La neige se forme généralement par la condensation de la vapeur d'eau dans les hautes couches de l'atmosphère et tombe ensuite plus ou moins vite à terre selon sa structure.
Les
canons à neige produisent de la neige artificielle, en réalité de minuscules grains proches de la neige fondue. Cette technique est utilisée sur les pistes de ski indoor, mais aussi dans les stations de sports d'hiver pour améliorer l'état des pistes.
Des études récentes ont montré que certaines bactéries (dites glaçogènes ) jouent un rôle important dans la formation des cristaux de glace ou de neige. Ces bactéries sont normalement épiphytes (
pseudomonas sp. par exemple) mais peuvent parfois être pathogènes) sont identifiées dans de nombreux échantillons de neige en France, en Amérique du Nord et en Antarctique.

Historique

Kepler fut l’un des premiers scientifiques à s’intéresser à la formation des flocons. Il rédige en 1611 un traité, L’Étrenne ou la neige sexangulaire. Vers 1930, le japonais Ukichiro Nakaya forme ses propres flocons dans des conditions expérimentales, fixant la température et la saturation en eau. Il s’aperçoit alors que la forme des cristaux dépend de ces deux paramètres. En 1935, Tor Bergeron développe la théorie de croissance des flocons à partir de la cannibalisation des gouttes d’eau surfondues appelée l’effet Bergeron.

L'eau de neige

La neige se transforme très lentement en eau liquide. L'eau de neige pénètre donc beaucoup mieux dans le sol et profite davantage aux nappes phréatiques que l'eau de pluie.
Ce bénéfice est parfois contrarié par un radoucissement rapide accompagné de pluies, situation qui conduit souvent à des inondations
parfois catastrophiques.

วันอาทิตย์ที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Noël





Noël est une fête chrétienne célébrant chaque année la naissance de Yeshoua, fils de Marie, dont le nom araméen a été traduit en français par Jésus de Nazareth. Cette naissance est aussi appelée Nativité.
Sa célébration à la date du 25 décembre a été fixée tardivement dans l'empire romain d'Occident vers le milieu du IVe siècle. La royauté du Christ n'étant pas de ce monde, certains comme Origène (milieu du IIIe siècle) refuse de célébrer cette naissance ainsi qu'on le faisait à l'époque pour un souverain temporel (roi, empereur, pharaon). Avant de la placer à la date d'une la célébration solaire liée au solstice d'hiver[1] plusieurs dates furent proposées : 18 novembre, 6 janvier... Le 25 décembre marquait depuis Aurélien (v.270) l'anniversaire du Sol Invictus et de la renaissance annuelle de Mithra , [2]. Pour des raisons symboliques, et dans un souci de christianiser les anciennes fêtes païennes, cette date fut progressivement étendue à tout l'occident latin. Les Églises orthodoxes, qui suivent le calendrier julien, célèbrent Noël le 6 janvier, mais seule l'Église Arménienne a conservé la date précise du 6 janvier comme jour de la fête de Noël[3],

Constituant avec Pâques une des grandes fêtes chrétiennes, Noël s'est progressivement chargé de traditions locales, mélanges d'innovations et de maintien de folklore ancien, au point de présenter l'aspect d'une fête profane populaire possédant de nombreuses variantes, dans le temps comme dans l'espace. L'association de la mémoire d'une naissance a facilité la place centrale prise par la famille dans le sens et le déroulement de cette fête. L'Église catholique romaine insiste par exemple sur cet aspect depuis l'instauration en 1893 de la fête de la Sainte Famille, le dimanche suivant le 25 décembre. Les cadeaux, sous forme d'étrennes, semblent être une réminiscence des cadeaux effectués lors des fêtes saturnales de décembre (strenae) [4] Le don est présent dans de nombreuses traditions, comme celle de servir une repas au premier pauvre croisé au jour de Noël, ou dans l'exceptionnelle générosité des aumônes accordées aux mendiants à la sortie de l'office célébré durant la nuit de Noël. « La période de Noël, qui est très chargée cérémoniellement, possède une certaine intensité rituelle. Même si nous vivons fondamentalement dans une société marchande, il y a dans cet échange de cadeaux quelque chose qui est de l'ordre du don et qui est universel dans son principe: ils créent, maintiennent et consolident des liens; ils constituent en quelque sorte une matrice du social.», [5].
La popularité de cette fête a fait que Noël est devenu un patronyme et un prénom.

La Nativité de Jésus-Christ

Traditionnellement, la fête de Noël est la solennité de la nativité de Jésus-Christ, la fête commémorative chrétienne de la naissance de Jésus de Nazareth qui, d'après les évangiles selon Luc[8] et selon Matthieu[9] serait né à Bethléem[10] .
Seul l'évangile selon Luc raconte cette naissance[11]. L'évangile selon Matthieu [12] ne fait que l'évoquer mais trace une généalogie à Jésus, tandis que les évangiles selon Marc et selon Jean[13] débutent le récit de sa vie par sa rencontre avec Jean le Baptiste.

Robotboy


Robotboy est une série télévisée d'animation franco-britannique créée par Jan Van Rijsselberge, produite par Alphanim et diffusée, au Royaume-Uni, depuis le 1er novembre 2005 sur Cartoon Network. En France, la série est diffusée depuis le 28 août 2006 sur Cartoon Network et au Québec, sur VRAK.TV.
Synopsis
Robotboy est la dernière création du professeur Moshimo. Il a des émotions humaines, il est programmé et se sent vivre avec Tommy Turnbull, un garçon âgé de 10 ans, dont il est le meilleur ami.

มิสเวิลด์ 2008 [ คเซนยา ซูคิโนวา ]




Blanche-Neige

Blanche-Neige est le personnage principal d'un conte célèbre en Europe, dont la version la plus connue est celle de Jacob et Wilhelm Grimm parue en 1812. Les frères Jacob et Wilhelm Grimm auraient été inspirés par un mythe germanique. Plusieurs mythes européens peuvent correspondre à ce personnage.
Résumé de la version des frères Grimm
Une reine se désolait de ne pas avoir d'enfant. Un jour d´hiver, alors qu'elle était assise près d'une fenêtre au cadre d'ébène, elle se piqua le doigt en cousant et quelques gouttes de sang tombèrent sur la neige. « Ah ! » Se dit la reine, « Si j´avais un enfant, au teint blanc comme la neige, aux lèvres rouges comme le sang et aux cheveux noirs comme le bois d´ébène ! ».
Peu de temps après, elle mourut en accouchant d'une petite fille. Le roi prit une nouvelle épouse,
belle mais méchante, orgueilleuse et jalouse de « Blanche-Neige ». Son miroir magique lui répétait qu'elle était la plus belle femme du royaume, jusqu'au jour où il dut reconnaitre que Blanche-Neige était devenue plus belle que sa marâtre. La reine demanda alors à un chasseur d'aller tuer l'enfant, mais l'homme se contenta de l'abandonner dans les bois.
Ce qui suit dévoile des moments clés de l’intrigue.
Errant dans la forêt, Blanche-Neige découvrit une petite maison où elle entra se reposer. C'était la demeure des sept nains qui, apitoyés par son histoire, acceptèrent de la cacher et de la loger comme servante.
La méchante reine, apprenant grâce au miroir que Blanche-Neige était toujours vivante, essaya par trois fois de la faire mourir. La troisième fois, déguisée en paysanne, elle trompa la vigilance de la jeune fille et réussit à lui faire croquer une pomme empoisonnée. Blanche-Neige tomba inanimée. Affligés, les nains lui firent un cercueil de cristal qu'ils déposèrent sur une colline afin que toutes les créatures puissent venir l´admirer.
Un prince qui chevauchait par là en tomba amoureux. Il obtint des nains la permission d'emporter le cercueil. Mais en route un porteur trébucha, délogeant le morceau de pomme coincé dans la gorge de la jeune fille qui se réveilla. Le prince lui demanda sa main.
Invitée au mariage, la méchante reine fut condamnée à chausser des escarpins de fer rougis au feu et à danser jusqu´à ce que mort s'ensuive.
Fin des révélations.

วันพฤหัสบดีที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Jacob et Wilhelm Grimm



Sous l'appellation de frères Grimm, on désigne les deux
linguistes, philologues et collecteurs de contes de langue allemande Jacob Grimm (1785-1863) et Wilhelm Grimm (1786-1859
Les collecteurs de légendes
Wilhelm Grimm entre-temps avait publié son premier livre en 1811, des traductions d'anciennes légendes danoises (Altdänische Heldenlieder). Le premier ouvrage commun des deux frères, sur le Hildebrandslied et le Wessobruner Gebet, fut publié en 1812. Il fut suivi en décembre de la même année d'un premier recueil de Contes de l'enfance et du foyer (Kinder- und Hausmärchen), tiré à 900 exemplaires. Les deux frères s'essayèrent aussi à une édition allemande de l'Edda, ainsi que de Reineke Fuchs (une version allemande du Roman de Renart), travaux qui restèrent toutefois longtemps inachevés. De 1813 à 1816, les frères contribuèrent également à la revue Altdeutsche Wälder, consacrée à la littérature allemande ancienne, mais qui ne connut que trois numéros.
En 1814, Wilhelm Grimm devint secrétaire de la bibliothèque du musée de Kassel et s'installa à la Wilhemshöher Tor, dans un logement appartenant à la maison du prince électeur de Hesse, où son frère Jacob le rejoignit à son retour de Paris. En 1815, Jacob Grimm assista au
congrès de Vienne en tant que secrétaire de la délégation hessoise, puis séjourna de nouveau à Paris en septembre 1815 pour une mission diplomatique. Par la suite, il quitta définitivement la carrière diplomatique pour pouvoir se consacrer exclusivement à l'étude, à la classification et au commentaire de la littérature et des usages historiques. Cette même année 1815, à côté d'un ouvrage d'études mythologiques (Irmenstraße und Irmensäule), il publia un choix critique d'anciennes romances espagnoles (Silva de romances viejos).
En 1815, les frères Grimm produisirent le deuxième volume des Contes de l'enfance et du foyer, réimprimés sous forme augmentée en 1819. Les remarques sur les contes des deux volumes furent publiées dans un troisième en 1822. Une nouvelle publication sous une forme réduite à un volume s'ensuivit en 1825, qui contribua grandement à la popularité des contes. Jacob et Wilhelm Grimm obtinrent que cette édition fut illustrée par leur frère
Ludwig Emil Grimm. À partir de 1823 parut une édition anglaise illustrée des Contes de l'enfance et du foyer. Du vivant même des deux frères parurent sept impressions de l'édition en trois volumes des contes et dix de l'édition réduite à un volume.
Dans les années 1816 et 1818 suivirent les deux tomes d'un recueil de
légendes (Deutsche Sagen). Les deux frères avaient d'abord collecté indifféremment contes et légendes ; il est difficile de les séparer sur des critères thématiques, et les frères ne le firent pas de façon suivie. Toutefois, les contes remontent pour l'essentiel à des sources orales, tandis que les légendes se fondent bien davantage sur des sources écrites. Le recueil des contes comme des légendes fut achevé à peu près en même temps, dès 1812, le délai de publication de six ans s'expliquant par le travail absorbant de composition d'un texte publiable. Le recueil de légendes ne remporta cependant pas un succès remarquable, et ne fut donc pas réimprimé du vivant des frères.
À l'âge de 30 ans, Jacob et Wilhelm Grimm avaient déjà acquis une position éminente de par leurs nombreuses publications. Ils vivaient ensemble à Kassel, sur le seul salaire modeste de Wilhelm pendant un temps. Ce ne fut qu'en avril 1816 que Jacob Grimm devint second bibliothécaire à Kassel, aux côtés de Wilhelm qui exerçait depuis deux ans comme secrétaire. Leur travail consistait à prêter, chercher et classifier les ouvrages. À côté de ces fonctions officielles, ils avaient la possibilité de mener sur place leurs propres recherches, qui furent saluées en 1819 par un doctorat honoris causa de l'université de Marbourg.
Les frères Grimm n'auraient pas pu publier autant pendant ces années sans encouragements ni protections. Ils furent d'abord soutenus par la princesse Wilhelmine Karoline de Hesse. Après sa mort en 1820 et celle du prince électeur en 1821, les frères durent déménager avec leur sœur Lotte pour s'installer dans un logement plus modeste, entre une caserne et une forge, non sans conséquences gênantes sur leur travail. Lotte, qui tenait jusque-là le ménage, se maria peu après, laissant ses deux frères qui déménagèrent plusieurs fois et menèrent pendant plusieurs années une vie de célibataires.

Le dictionnaire allemand
Les frères s'en retournèrent à Kassel où ils restèrent sans emploi, jusqu'à ce que le roi Frédéric-Guillaume IV de Prusse les invitât comme membres de l'académie des sciences et professeurs à l'Université Humboldt. Les deux frères répondirent à cette offre et s'installèrent définitivement à Berlin. Jacob entreprit cependant par la suite plusieurs voyages à l'étranger, et fut député au Parlement de Francfort en 1848 avec plusieurs de ses anciens collègues de Göttingen.
Durant cette période berlinoise, les deux frères se consacrèrent principalement à une œuvre colossale : la rédaction d'un dictionnaire historique de la langue allemande, qui en présenterait chaque mot avec son origine, son évolution, ses usages et sa signification.
Mais les deux frères avaient sous-estimé le travail à accomplir. Bien qu'ayant commencé cette tâche en
1838 après leur renvoi de Göttingen, le premier tome ne parut qu'en 1854 et seuls quelques volumes purent être édités de leur vivant. Plusieurs générations de germanistes poursuivront cette œuvre, et cent-vingt-trois ans plus tard, le 4 janvier 1961 le 32e volume de ce dictionnaire allemand fut enfin édité. En 1957, une nouvelle révision de cette œuvre gigantesque a été entamée et le premier volume de ce travail a été publié en 1965. En 2004, l'ensemble du dictionnaire a été édité sous forme de CD-ROM par les éditions Zweitausendeins (Francfort-sur-le-Main).
Wilhelm Grimm mourut le
16 décembre 1859. L'Académie de Berlin écrivit en janvier 1860 : « Au 16 du mois dernier est mort Wilhelm Grimm, membre de l'académie, qui a fait briller son nom au titre de linguiste allemand et collecteur de légendes et de poèmes. Le peuple allemand est aussi habitué à l'associer à son frère aîné Jacob. Peu d'hommes sont honorés et aimés comme le sont les frères Grimm, qui en l'espace d'un demi-siècle se sont soutenus réciproquement et fait connaître dans un travail commun. » Jacob poursuivit seul leur ouvrage, avant de mourir à son tour le 20 septembre 1863. Les deux frères reposent ensemble au cimetière de Matthäus, à Berlin-Schöneberg

วันจันทร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2551

วันรัฐธรรมนูญ




๑๐ ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันรัฐธรรมนูญ เพื่อเป็นการระลึกถึงรัฐธรรมนูญฉบับแรก อันเป็นฉบับถาวร เป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ และเป็นเครื่องกำหนดระเบียบแบบแผนของสังคม ซึ่งพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานให้กับปวงชนชาวไทย เมื่อวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕
การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อวันที่ ๒๔ มิถุนายน พ.ศ.๒๔๗๕ นับว่ามีความสำคัญเป็นอย่างยิ่งในประวัติศาสตร์การปกครองของชาติไทยเนื่องจากเป็นการเปลี่ยนแปลง การปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช ซึ่งเป็นระบอบการปกครองที่ใช้กันมาเป็นเวลา ๗๐๐ ปีเศษ มาเป็นระบอบประชาธิปไตย โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญอันเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศ
สาเหตุที่เกิดการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
๑.พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๗ แห่งราชวงศ์จักรีทรงมีพระราชประสงค์ที่จะพระราชทานรัฐธรรมนูญเพื่อเป็นหลักในการปกครองของประเทศให้แก่ประชาชนชาวไทย
๒. หลังสงครามโลกครั้งที่ ๑ เศรษฐกิจตกต่ำทั่วโลก ผลอันนี้ได้กระทบมาถึงไทยด้วย พระองค์ได้แก้ไขเศรษฐกิจโดยปลดข้าราชการออก ยังความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ
๓. อิทธิพลจากตะวันตกเกี่ยวกับอุดมการณ์ทางการเมือง ทำให้กลุ่มคนหนุ่มต้องการเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลัน
๔. รัฐบาลได้ออกกฎหมายเก็บภาษี อาทิ ภาษีโรงเรือน ภาษีที่ดินจากราษฎร
วันที่ ๒๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญชั่วคราวเรียกว่า "พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว" สาระสำคัญของธรรมนูญการปกครองฉบับนี้ ได้แก่ การที่กำหนดว่า อำนาจสูงสุดในการปกครองประเทศหรืออำนาจอธิปไตยเป็นของราษฎรทั้งหลาย การใช้อำนาจสูงสุดก็ให้มีบุคคล คณะบุคคลเป็นผู้ใช้อำนาจแทนราษฎรดังนี้ คือ
๑. พระมหากษัตริย์ ๒. สภาผู้แทนราษฎร ๓. คณะกรรมการราษฎร ๔. ศาล
กระทั่งถึงวันที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๗๕ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทานรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรสยาม ฉบับถาวรซึ่งมีหลักการต่างกับฉบับแรกในวาระสำคัญหลายประการ อาทิ ได้เปลี่ยนระบอบการปกครอง เป็นการปกครองแบบรัฐสภา ทั้งนี้เนื่องจากรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๔๗๕ ได้บัญญัติให้พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นประมุขไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง เป็นผู้ใช้อำนาจทางคณะรัฐมนตรี ซึ่งพระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งให้บริการราชการแผ่นดินต่อสภาผู้แทน รัฐสภาซึ่งเป็นฝ่ายนิติบัญญัติมิได้ใช้แต่เพียงอำนาจนิติบัญญัติเท่านั้น แต่มีอำนาจที่จะควบคุมคณะรัฐมนตรีในการบริหารแผ่นดินด้วย แต่อย่างไรก็ตามคณะรัฐมนตรีรวมทั้งพระมหากษัตริย์ซึ่งประกอบกันเป็นรัฐบาลก็มีอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนได้ หากเห็นว่าได้ดำเนินการไปในทางที่จะเป็นภัยหรือเสื่อมเสียผลประโยชน์สำคัญของรัฐซึ่งมีผลเท่ากับถอดถอนสมาชิกสภาที่ได้รับเลือกตั้งมาเพื่อให้ราษฎรเลือกตั้งใหม่ ในส่วนเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์นั้น ได้บัญญัติว่า พระมหากษัตริย์ดำรงอยู่ในฐานะอันเป็น ที่เคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิดมิได้

_* *_การวางตัวในสังคมปีใหม่_* *_











1. วางแผน
คิดเสียให้เสร็จว่าปีใหม่จะทำอะไรบ้าง แยกเป็นหมวดๆ เพื่อไม่ให้สับสน เช่น กลุ่มคนที่ต้องส่งบัตรอวยพร กลุ่มคนที่ต้องโทรศัพท์ไปอวยพร กลุ่มคนที่ต้องเดินทางไปอวยพร คนที่ต้องส่งของขวัญไปให้ เหล่านี้เป็นต้น หรือหากจะเดินทางเพื่อพักผ่อนหรือท่องเที่ยว ก็ต้องวางแผนเพื่อจับจองที่พักและสำรองที่นั่ง กรณีที่ต้องเดินทางร่วมกับผู้อื่น ไหนจะต้องวางแผนเรื่องค่าใช้จ่ายอีก ต้องบอกกันตามตรงนะคะว่า ปีใหม่แต่ละที มีรายการจ่ายรอเราอยู่เยอะแยะเหลือเกิน หากไม่มีการวางแผนให้รัดกุม อาจส่งผลกระทบถึงเดือนถัดไป หรืออาจทำให้เงินที่สู้เก็บออมมีอันต้องร่อยหรอตามไปด้วย การวางแผนว่าจะต้องทำอะไรบ้าง จะต้องใช้จ่ายอะไรบ้าง จึงสำคัญมากจริงๆ


2. กำหนดวิธี
เมื่อวางแผนเสร็จแล้ว ก็มากำหนดวิธีปฏิบัติค่ะ บางอย่างดำเนินการได้เอง บางอย่างไหว้วาน กระจายงาน หรือแม้กระทั่งจ้างคนอื่นทำแทนได้ เช่น การส่งบัตรอวยพร ส่งช่อดอกไม้ ส่งของขวัญ ส่งกระเช้าปีใหม่ หากไม่กำหนดวิธีและแบ่งงานออกไปอย่างนี้ บางแผนงานที่มีอาจเสียหายได้
3. กำหนดเวลา
มีแผนงานแล้ว มีวิธีการแล้ว กำหนดเงื่อนเวลาลงไปเลยค่ะ ว่างานไหนจะจัดการให้แล้วเสร็จเมื่อไหร่ เพราะยิ่งใกล้สิ้นปี ยิ่งมีเรื่องให้ต้องชำระสะสางมาก หากไม่จัดสรรเวลาให้ดีๆ บางงาน บางวิธี อาจไม่ทันได้ลงมือนะคะ

4. กำหนดตัวเอง
ปีใหม่เป็นช่วงเวลาของการทบทวนตัวเองค่ะ มีหลายเรื่องให้ต้องทบทวน และกำหนดตัวเองว่าต้องเริ่มใหม่ ต้องแก้ไข หรือต้องดำรงสิ่งที่ทำอีอยู่แล้วให้ดีต่อไปและดียิ่งขึ้น แยกเป็นเรื่องย่อยๆ ได้หลายเรื่องดังต่อไปนี้ค่ะ







สาวอยากขาว ฉีดยาเพิ่มสวย ระวังภัยโรคร้ายรุม!!

ก่อนอื่นเรามาทำความรู้จักกับ "สารกลูต้าไธโอน" กัน เสียก่อน โดย ศ.นพ.นิวัติ พล นิกร ประธานวิชาการสมาคม เวชสำอางและศัลยศาสตร์ผิวพรรณ อธิบายว่า กลูต้าไธโอน (Glutathione) เป็นสารจากธรรมชาติที่อยู่ในร่างกายที่ร่างกายสามารถสังเคราะห์ได้เอง โดยปกติเซลล์ในร่างกายสามารถสร้างเองได้จากกระบวนปฏิกิริยาชีวเคมีในเซลล์ทั่วไป ทำหน้าที่ในการ ขจัดสารพิษในร่างกาย ต้านอนุมูลอิสระ (Antioxidant) ที่เกิดจากแสงแดด มีการกระทบกระเทือนหรือมีบาดแผล กลูต้าไธโอน ก็จะขจัดออกไป จึงช่วยป้องกันชะลอความแก่ ริ้วรอยเหี่ยวย่นจากวัยที่มากขึ้น และป้องกันภาวะเสื่อมของเซลล์ที่อาจจะเกิดโรคมะเร็ง กระตุ้นภูมิคุ้มกันในร่างกาย (Immune Enhancer) โดยกระตุ้นการทำงานของเอนไซม์หลายชนิด เพื่อให้ร่างกายต่อต้านสิ่งแปลกปลอมรวมทั้งเชื้อแบคทีเรียและไวรัส
และผลพลอยได้ที่พบคือสามารถ ทำให้สีผิวขาวขึ้นได้ โดยอาศัยกลไกการทำงานที่มีคุณสมบัติในการไปยับยั้งการทำงานของเม็ดสี ผลลัพธ์คือทำให้สีผิวขาวขึ้นได้ระดับหนึ่งแต่ก็เกิดขึ้นไม่ถาวร จากคุณสมบัตินี้ทำให้มีการสังเคราะห์สารตัวนี้ ขึ้นมาเป็นผงสีขาว โดยมีการนำไปผสมกับวิตามินซีและผลิตออกมา ใช้ฉีด ทา และรับประทาน ปัจจุบันผลิตมากในต่างประเทศ เช่น อิตาลี ญี่ปุ่น เกาหลี จนกระทั่งมีแพร่หลาย และเป็นที่นิยมในหมู่วัยรุ่นหนุ่มสาวในประเทศไทย ซึ่งทางสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) ถือว่าเป็นเรื่องที่อันตรายเพราะสารดังกล่าวไม่ได้ยื่นขออนุญาตหรือขอจดทะเบียนกับทาง อย.
การใช้สารกลูต้าไธโอนในการเพิ่มความขาวนั้น ศ.นพ.นิวัติ บอกว่า วิธีทาและรับประทานไม่ค่อยเห็นผล จึงนิยมใช้วิธีฉีดเข้าเส้นเลือดดำจะเห็น ผลเร็วกว่า ปัจจุบันราคาเข็มละ 1,500-4,500 บาท โดยต้องฉีดต่อเนื่องหลายเข็มในปริมาณที่มากแล้วแต่ทางคลินิกจะจัดเป็นคอร์ส เมื่อฉีดแล้วสารกลูต้าไธโอนจะไปยับยั้งการสร้างเม็ดสีทำให้ผิวขาวใสเหมือนฝรั่ง แต่เมื่อเลิกใช้เม็ดสีผิวจะทำงานตามปกติและสีผิวเราก็จะกลับเป็นเหมือนเดิมตามเผ่าพันธุ์ที่เป็นมาแต่กำเนิด และการที่เราไปหยุดการสร้างเอนไซม์เม็ดสีที่เป็นธรรมชาตินานๆ เกิดผลข้างเคียงระยะยาวอย่างแน่นอน คือ ทำให้ผิวคนเอเชียจากที่เคยกรองแสงอัลตราไวโอเลตได้มากก็ทำให้กรองได้ลดลง ทำให้ผิวจะไวต่อรังสียูวีมากขึ้น และได้รับอันตรายจากแสงแดด ทำให้เกิดฝ้า กระ หรือมะเร็งผิวหนังได้ง่าย รวมทั้งเกิดอาการผิวหนังเหี่ยวและแก่ก่อนวัย
ความขาวมีประโยชน์อย่างไร..? เพียงแค่เป็นค่านิยมที่เชื่อกันว่าถ้าผิวขาวแล้วจะสวยแค่นั้นหรือที่เรายอมเอาตัวเข้าเสี่ยงโดยไม่มองถึงผลเสียที่จะตามมาและเสียเงินโดยใช่เหตุ ทำไมเราไม่เปลี่ยนความคิดหรือค่านิยมบ้างว่าผิวคล้ำก็สวยได้ เช่น ผิวที่สวยคือผิวที่มีสุขภาพดีไม่เป็นโรค

วันพฤหัสบดีที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2551

วันอังคารที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551

Father's Day




Father's Day is a celebration inaugurated in the early twentieth century to complement Mother's Day in celebrating fatherhood and male parenting, and to honor and commemorate fathers and forefathers. Father's Day is celebrated on a variety of dates worldwide and typically involves gift-giving, and special dinners to fathers and family-oriented activities. In 2008, it was celebrated on June 15 in many countries. It originated in Spokane, Washington.[citation needed] In 2009, it will be celebrated on June 21 in many countries.
Although Mrs. John B. Dodd of Washington was the first to solicit the idea of having a Father's Day observance (while listening to a Mother's Day sermon in church), the very first Father's Day observance didn't transpire for many years. That first observance was held in a church in
Fairmont, West Virginia. "Dr. Robert Webb of West Virginia is believed to have conducted the first Father's Day service on July 5, 1908 at the Central Church of Fairmont".
พ่อลำบาก กรากกรำ ทำงานหนัก
เพื่อลูกรัก พ่อทำได้ ไม่เคยบ่น
ถึงแม้เหงื่อ รินไหล ไม่กังวล
ขอให้ลูก ของตน เป็นคนดี

ไม่อยากเป็นผู้หญิง...กลิ่นตัวแรง


ไม่ว่าใครก็ชอบกลิ่นหอมชื่นใจด้วยกันทั้งนั้น แต่ถ้าเมื่อไรต้องเผชิญกับปัญหากลิ่นกายฉุนกึก สาวๆ จงอย่ารอช้า ขอให้รีบหาทางแก้ไขโดยด่วน
กลิ่นตัวเกิดจากต่อมเหงื่อที่ผลิตสารสีขาวขุ่นออกมา แล้วถูกย่อยโดยเชื้อแบคทีเรียซึ่งอาศัยอยู่บนผิวหนัง จึงทำให้เกิดกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ โดยมักจะเกิดที่บริเวณใต้วงแขนมากกว่าส่วนอื่น ซึ่งมีหลายปัจจัยที่เป็นสาเหตุของกลิ่น
ฮอร์โมน โดยเฉพาะในช่วงวัยรุ่นที่มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมนมาก ก็ทำให้เกิดกลิ่นตัวเช่นกัน
สภาพอากาศ ในสภาพอากาศร้อนหรือร้อนชื้น เชื้อแบคทีเรียที่ผิวหนังจะเพิ่มจำนวนมากเป็นพิเศษ และเป็นสาเหตุให้เกิดกลิ่นตัวได้ง่ายและรุนแรงขึ้น
เสื้อผ้า เสื้อผ้าเนื้อหนาหรือผ้าใยสังเคราะห์จะระบายเหงื่อได้ช้าและเกิดความอับชื้นได้ง่าย
อารมณ์ ความเครียด โกรธ หรือตกใจ จะกระตุ้นให้ต่อมเหงื่อขับเหงื่อออกมามากกว่าปกติ
อาหาร ที่มีสารโคลีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ ไข่ ตับ พืชประเภทฝักถั่ว หัวหอม กระเทียม และเครื่องเทศ รวมถึงการรับประทานอาหารรสจัด ล้วนแต่เร่งให้ต่อมเหงื่อขับไขมันออกมามากขึ้นทั้งสิ้น
ภาวะผิดปกติทางร่างกาย เช่น การทำงานที่บกพร่องของระบบเผาผลาญอาหารบางระบบ หรือระบบการย่อยของเอนไซม์ ทำให้ร่างกายสร้างสารเคมีบางอย่างที่มีกลิ่นแล้วขับออกมาทางเหงื่อ
ยา เช่น ยาทารักษาสิวทั่วไปที่มีส่วนผสมของ Benzoyl Peroxide มีผลข้างเคียงทำให้เกิดกลิ่นตัว
สารพัดวิธีกำจัดกลิ่น
1. อาบน้ำให้สะอาด โดยอาจเลือกสบู่ที่ช่วยยับยั้งเชื้อแบคทีเรียและใช้ผลิตภัณฑ์ระงับกลิ่นกายควบคู่กัน
2. ปรึกษาแพทย์ ซึ่งอาจจำเป็นต้องใช้ยาปฏิชีวนะเพื่อฆ่าเชื้อแบคทีเรีย หรืออาจฉีดโบท็อกซ์ที่ใต้วงแขน เพื่อลดปริมาณเหงื่อให้น้อยลงหรือแห้งสนิท ซึ่งตัวยาจะอยู่ได้ประมาณ 6 เดือน
3. โอ-เลเซอร์ (O-laser) เพื่อทำลายต่อมเหงื่อใต้วงแขน โดยไม่ทำลายเส้นเลือดหรือผิวหนังแต่อย่างใด
4. ใช้คลื่น RF ส่งผ่านอุปกรณ์การแพทย์ขนาดเล็ก โดยสอดเข้าไปใต้ผิวหนังบริเวณใต้วงแขนเพื่อลดการทำงานของต่อมเหงื่อ
5. ถ้ามีปัญหากลิ่นตัวมากจนเกินเยียวยา แพทย์จะแนะนำให้ผ่าตัดเพื่อตัดต่อมไขมันใต้ผิวหนังออก หรือดูดไขมันบริเวณรักแร้ออก

วันศุกร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

!!!World AIDS Day!!!




World AIDS Day, observed December 1 each year, is dedicated to raising awareness of the AIDS pandemic caused by the spread of HIV infection. AIDS has killed more than 25 million people[citation needed], with an estimated 33.2 million people living with HIV[citation needed], making it one of the most destructive epidemics in recorded history. Despite recent, improved access to antiretroviral treatment and care in many regions of the world, the AIDS epidemic claimed an estimated 3.1 million (between 2.8 and 3.6 million) lives in 2005, of which more than half a million (570,000) were children.
The concept of a World AIDS Day originated at the 1988 World Summit of Ministers of Health on Programmes for AIDS Prevention. Since then, it has been taken up by governments, international organizations and charities around the world.
From its inception until 2004,
UNAIDS spearheaded the World AIDS Day campaign, choosing annual themes in consultation with other global health organizations. In 2005 this responsibility was turned over to World AIDS Campaign (WAC), who chose Stop AIDS: Keep the Promise as the main theme for World AIDS Day observances through 2010, with more specific sub-taglines chosen annually. This theme is not specific to World AIDS Day, but is used year-round in WAC's efforts to highlight HIV/AIDS awareness within the context of other major global events including the G8 Summit. World AIDS Campaign also conducts “in-country” campaigns throughout the world, like the Student Stop AIDS Campaign, an infection-awareness campaign targeting young people throughout the UK.
World AIDS Day banner, European Commission building, Brussels
A large
red ribbon hangs between columns in the north portico of the White House for World AIDS Day, November 30, 2007
A 67 m long "condom" on the
Obelisk of Buenos Aires, Argentina, part of an awareness campaign for the 2005 World AIDS Day
It is common to hold memorials to honor persons who have died from HIV/AIDS on this day. Government and health officials also observe, often with speeches or forums on the AIDS topics. Since 1995 the
President of the United States has made an official proclamation on World AIDS Day. Governments of other nations have followed suit and issued similar announcements.

วันอาทิตย์ที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

พระมงคลเทพมุนี (สด จันทสโร)





พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) (จนฺทสโร หมายถึง ผู้นำแสงสว่างมาสู่โลก ประดุจพระจันทร์ส่องสว่างยามราตรี) เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ฝ่ายวิปัสสนาธุระ มีนามตามสัญญาบัตรประกอบพัดยศสมณศักดิ์ว่า พระมงคลเทพมุนี ศรีรัตนปฏิบัติ สมาธิวัตรสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี หรือ หลวงพ่อวัดปากน้ำ เดิมชื่อ สด มีแก้วน้อย เกิดเมื่อวันศุกร์ที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2427 ตรงกับวันแรม ๖ ค่ำ เดือน ๑๑ ปีวอก ฉศก จุลศักราช ๑๒๔๖ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ณ บ้านสองพี่น้อง ตำบลสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นบุตรคนที่สองของนายเงินและนางสุดใจ มีแก้วน้อย มีพี่น้องร่วมมารดาบิดา 5 คน ท่านนับเป็นองค์ปฐมบรมครูแห่งวิชชาธรรมกายในยุคปัจจุบัน
ชีวิตในช่วงต้น

เริ่มเรียนหนังสือกับพระภิกษุผู้เป็นน้าชาย ณ วัดสองพี่น้อง แล้วมาอยู่ ณ วัดบางปลา อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม ในความปกครองของพระอาจารย์ทรัพย์ ปรากฏว่าเป็นผู้สามารถเรียน-อ่านภาษาขอมได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อสำเร็จการศึกษาแล้วได้กลับไปช่วยบิดามารดาประกอบอาชีพค้าขาย ด้วยความวิริยะอุตสาหะเพื่อสร้างฐานะให้มั่นคง
เมื่อท่านอายุได้ 14 ปีโยมบิดาได้ถึงแก่กรรมลงท่านจึงรับภาระดูแลการค้าแทน ท่านฉลาดในการปกครอง ลูกเรือต่างก็รักนับถือท่านและเนื่องจากท่านเป็นคนขยันขันแข็งในการทำงาน อาชีพการค้าจึงเจริญขึ้นโดยลำดับ จนปรากฏในยุคนั้นว่า เป็นผู้มีฐานะดีคนหนึ่ง วันหนึ่งเมื่อท่านนำเรือเปล่ากลับบ้านพร้อมเงินรายได้จากการขายข้าวผ่านลัดคลองเล็กซึ่งชาวบ้านเรียกว่า คลองบางอีแท่น มีโจรผู้ร้ายชุกชุมท่านนึกถึงความตายขึ้นมา และได้อธิษฐานจิตในขณะนั้นว่า ขออย่าให้ข้าพเจ้าตายเสียก่อนเลย ขอให้ได้บวชเสียก่อน เมื่อบวชแล้วจะไม่ลาสิกขา ขอบวชไปจนตลอดชีวิต การหาเงินเลี้ยงชีพนั้นลำบาก บิดาของเราก็หามาอย่างนี้ ต่างไม่มีเวลาว่างกันทั้งนั้น ถ้าใครไม่รีบหาให้มั่งมี ก็เป็นคนชั้นต่ำ ไม่มีใครนับหน้าถือตา เข้าหมู่เพื่อนบ้านก็อับอาย ไม่เทียมหน้าเขา บุรพชนต้นสกุลก็ทำมาอย่างนี้เหมือนกัน จนถึงบิดาเราและตัวเราในบัดนี้ ก็คงทำอยู่อย่างนี้ ก็บัดนี้บุรพชนทั้งหลายได้ตายไปหมดแล้ว แม้เราก็จักตายเหมือนกัน เราจะมัวแสวงหาทรัพย์อยู่ทำไม ตายแล้วเอาไปไม่ได้ บวชดีกว่า ท่านบอกว่าเริ่มอธิษฐานมาตั้งแต่อายุ 19 ปี หลวงพ่อวัดปากน้ำท่านเล่าต่อไปว่า เมื่อตกลงใจบวชไม่สึกแล้ว จิตคิดเป็นห่วงมารดาเกิดขึ้น จึงขะมักเขม้นทำงานสะสมทรัพย์ เพื่อให้มารดาเลี้ยงชีพไปจนตลอดชีวิต
อุปสมบท
เดือนกรกฎาคม 2449 ขณะมีอายุย่างเข้า 22 ปี ท่านได้อุปสมบท ณ วัดสองพี่น้อง อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี มีฉายาว่า สด จนฺทสโร พระอาจารย์ดี วัดประตูสาร อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูวินยานุโยค (เหนี่ยง อินฺทโชโต) เป็นพระกรรมวาจาจารย์ และพระอาจารย์โหน่ง อินทสุวณโณ เป็นพระอนุสาวนาจารย์ คู่สวดทั้งสองรูปอยู่วัดเดียวกัน คือวัดสองพี่น้อง ในการเรียนด้านคันถธุระในพรรรษาแรก ท่านสงสัยอยากรู้คำแปลคำว่า อวิชฺชาปจฺจยา ซึ่งไม่มีใครทราบ ท่านจึงเกิดความดำริที่จะไปเรียนคันถุระต่อที่กรุงเทพ เมื่ออุปสมบทแล้ว ท่านเริ่มปฏิบัติสมถวิปัสสนากับองค์อนุสาวนาจารย์นับแต่วันบวช เมื่อบวชแล้วพอรุ่งขึ้นอีกวัน หลวงพ่อก็เริ่มลงมือปฏิบัติพระกรรมฐานต่อกับพระอาจารย์เนียม วัดน้อย อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี ได้จำพรรษาอยู่วัดสองพี่น้อง 1 พรรษาเมื่อออกพรรษาที่วัดสองพี่น้องแล้ว ท่านจึงเดินทางมาจำพรรษา ณIวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เพื่อศึกษาด้านคันถธุระต่อ ในสมัยนั้นนิยมใช้หนังสือขอมที่จารลงในใบลาน ขณะที่ท่านเรียนทางด้านคันถธุระอยู่นั้น ก็ได้ปฏิบัติวิปัสสนาธุระควบคู่ไปด้วย โดยการศึกษากับพระอาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิในสำนักต่าง ๆ ท่านได้ไปศึกษากับ ท่านเจ้าคุณสังวรานุวงศ์เถร (เอี่ยม) วัดราชสิทธาราม (วัดพลับ) ท่านพระครูฌาณวิรัติ วัดพระเชตุพน และสำนักของพระอาจารย์สิงห์ วัดละครทำ จนได้ผลการปฏิบัติเป็นที่พอใจของพระอาจารย์ เมื่อได้ศึกษาภาวนาวีธีจนมีความรู้ความเข้าใจ ทั้งจากพระอาจารย์ทั้งจากพระไตรปิฎกและคัมภีร์ต่าง ๆ มีวิสุทธิมรรค เป็นต้น ได้แสวงหาที่หลีกเร้น มีความวิเวก เป็นสัปปายะต่อการปฏิบัติธรรมดังนั้นในพรรษาที่ 11 จึงได้กราบลา เจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( เข้ม ) อธิบดีสงฆ์วัดพระเชตุพนฯ เพื่อไปจำพรรษา ณ วัดโบสถ์บน ตำบลบางคูเวียง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนบุรี
เข้าถึงธรรมกาย
ในพรรษาที่ 11 ท่านได้ไปจำพรรษา ณ วัดโบสถ์บน ต.บางคูเวียง อ.บางกรวย จ.นนทบุรี ในวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 10 ท่านได้มีความคิดที่จะกระทำความเพียรอย่างอุกฤษฏ์ตั้งแต่เช้าตรู่ “เราบวชมาจวนจะครบ 12 พรรษาแล้ว วิชชาของพระพุทธเจ้าเรายังไม่ได้บรรลุเลย ทั้งที่การศึกษาของเราก็ไม่เคยขาดเลยสักวันทั้งคันถธุระและวิปัสนาธุระ อย่าเลย ควรจะรีบกระทำความเพียรให้รู้เห็นของจริงในพระพุทธศาสนาเสียที” เมื่อกลับจากบิณฑบาตแล้วท่านก็รีบจัดการภารกิจต่างๆให้เรียบร้อยเพื่อจะได้ไม่มีเรื่องกังวลใจ เสร็จแล้วก็ได้เข้าเจริญภาวนาในอุโบสถ โดยตั้งใจว่าหากไม่ได้ยินเสียงกลองเพลจะไม่ยอมลุกจากที่ เมื่อตั้งใจแล้วก็หลับตาภาวนา “สัมมา อะระหัง” เรื่อยไปจนกระทั่งความปวดเมื่อยและอาการกระสับกระส่ายเริ่มติดตามมา จิตก็ซัดส่ายกระวนกระวายจนเกือบจะหมดความอดทน แต่ได้ตั้งสัจจะไว้แล้วจึงทนนั่งต่อไป เมื่อไม่สนใจความปวดเมื่อยของสังขาร ในที่สุดใจก็ค่อยๆ สงบลงทีละน้อยแล้วรวมหยุดเป็นจุดเดียวกัน เห็นเป็นดวงใสบริสุทธิ์ขนาดเท่าฟองไข่แดงของไก่ติดอยู่ที่ศูนย์กลางกาย ใจชุ่มชื่นเบิกบานอย่างบอกไม่ถูก
เย็นวันนั้นหลังจากได้ฟังพระปาฏิโมกข์กับเพื่อนสหธรรมิกแล้ว ท่านได้รีบทำภารกิจส่วนตัวสรงน้ำให้ร่างกายสดชื่นดีแล้ว จึงเข้าไปในอุโบสถแต่เพียงรูปเดียว เมื่อกราบพระประธานแล้วก็ได้ตั้งสัตยาธิษฐานว่า “ขอให้พระองค์ทรงพระเมตตาโปรดประทานธรรมที่พระองค์ทรงตรัสรู้แล้วแก่ข้าพระพุทธเจ้า แม้จะเป็นเพียงส่วนน้อยนิดก็ยินดี ถ้าหากการบรรลุธรรมของข้าพระองค์ฯจักเกิดโทษแก่พระศาสนาก็ขออย่าได้ทรงประทานเลย แต่ถ้าจะเป็นคุณแก่พระศาสนาแล้ว ขอได้โปรดประทานแก่ข้าพระองค์ฯด้วยเถิด ข้าพระพุทธเจ้าจะขอรับเป็นทนายพระศาสนาต่อไปจนตลอดชีวิต”
เมื่อได้ตั้งสัตยาธิษฐานแล้วท่านก็เริ่มนั่งหลับตา ขณะนั้นมีมดอยู่ในช่องแผ่นหินที่ท่านนั่ง กำลังไต่ขึ้นมารบกวนท่าน จึงหยิบขวดน้ำมันก๊าดขึ้นมา เพื่อจะทากันมด แต่แล้วก็คิดได้ว่า ชีวิตของเรา เราได้สละแล้วเพื่อการบำเพ็ญเพียร แต่เหตุไฉนจึงยังกลัวมดอยู่อีก จึงวางขวดน้ำมันก๊าดลง เจริญกัมมัฏฐานต่อไป จนถึงยามดึกจึงได้เริ่มเห็นดวงปฐมมรรคหรือดวงธรรมที่ทำให้เป็นกายมนุษย์ เมื่อได้รู้เห็นธรรมะแล้วท่านจึงได้เข้าใจว่า “พระธรรมนี้เป็นของลึกซึ้งยิ่งนัก ยากที่มนุษย์จะเข้าถึง การจะเข้าให้ถึงได้ต้องรู้ตรึก รู้นึก รู้คิด ต้องหยุดเป็นจุดเดียวกัน เมื่อหยุดแล้วจึงดับ เมื่อดับแล้วจึงเกิด ถ้าไม่ดับก็ไม่เกิดนี่เป็นของจริง ของจริงต้องอยู่ตรงนี้ ถ้าไม่ถูกส่วนนี้เป็นไม่เห็นเด็ดขาด” เมื่อมองเรื่อยไปก็เห็นดวงใหม่ผุดซ้อนขึ้นมาแทนที่ดวงเก่า แต่ใสสว่างมากยิ่งขึ้น จนในที่สุดก็เห็นกายต่างๆ ตามลำดับจนกระทั่งถึง ธรรมกาย
ได้เริ่มเห็นผังของจริงของพระพุทธเจ้า ( ธรรมกายโคตรภู ) ในระหว่าง มัชฌิมยามกับปัจฉิมยามติดต่อกัน ท่านได้รำพึงว่า ธรรมเป็นของลึกซึ้งถึงเพียงนี้ ใครจะไปคาดคะเนเอาได้ พ้นวิสัย ของความตรึก นำ คิด ถ้ายังตรึก นึก คิด อยู่ก็ไม่ถึง ที่จะเข้าให้ถึงต้องทำให้รู้ตรึก รู้นึก รู้คิด นั้นหยุดเป็นจุดเดียวกัน แต่พอหยุดก็ดับ แต่พอดับแล้วก็เกิด ถ้าไม่ดับแล้วก็ไม่เกิด ตรองดูเถิดท่านทั้งหลายนี่เป็นของจริง หัวต่อมีเป็นอยู่ตรงนี้ ถ้าไม่ถูกส่วนก็ไม่มีไม่เป็นเด็ดขาด รำพึงอย่างนี้สักครู่ใหญ่ เกรงว่า ความมีความเป็นนั้นจะเลือนไปเสียจึงเข้าที่ ดำรงสมาธิมั่น ต่อไปตลอดปัจฉิมยาม ในขณะดำรงสมาธิมั่น อยู่อย่างนั้น เห็นวัดบางปลา ปรากฏขึ้นในนิมิต จึงเกิดญาณทัสสนะขึ้นอยู่ว่า ธรรมที่รู้ว่าได้ยากนั้น ในวัดบางปลานี้ จะต้องมีผู้รู้เห็น ได้อย่าง แน่นอน ออกพรรษาแล้วได้ไปสอนที่วัดบางปลา 4 เดือน มีพระทำเป็น ได้พระธรรมกาย 3 รูป คือ พระสังวาลย์ พระแบน และพระอ่วม กับคฤหัสถ์ 4 คน นับแต่นั้นมาหลวงพ่อ ก็เป็นพระวิปัสสนาจารย์ ที่คนเคารพ รู้จักและยกย่องบูชากันทั่วไป คำว่า
ธรรมกาย นี้ มีพระบาลี รับรองว่า ตถาคตสส วาเสฏฐ เอตํ ธมมกาโยติ วจนํ ดูกรวาเสฏฐะ ธรรมกายนี้เป็นชื่อของพระตถาคต และมีพระบาลีปรากฏในอัคคัญญสูตร ปาฏิกวรรค ทีฆนิกาย พระสุตตันตปิฎกรับรองว่า ตถาคตสส เหตํ วาเสฏฐา อธิวจนํ ธมมกาโย อิติปิ ดูกรวาเสฏฐะ และภารทวาชะ เพราะคำว่าธรรมกายนี้เป็นชื่อของ ตถาคต
คติธรรม

- เกิดมาว่าจะมาหาแก้ว พบแล้วไม่กำ จะเกิดมาทำไม อ้ายที่อยากมันก็หลอก อ้ายที่หยอกมันก็ลวง ทำให้จิตมันเป็นห่วงเป็นใย
เลิกอยากลาหยอก รีบออกจากกาม เดินตามขันธ์สามเรื่อยไป เสร็จกิจสิบหก ไม่ตกกันดาร เรียกว่า "นิพพาน" ก็ได้
- ประกอบเหตุ สังเกตผล ทนเอาเถิด ประเสริฐนัก
- ไม่หยุดไม่ถึงพระ ตัวหยุดนี่แหละเป็นตัวสำเร็จ
- ผลไม้ดกนกชุม น้ำเย็นปลาชอบอาศัย

แผนที่วัดหลวงพ่อสดธรรมกายาราม


วิชชา ธรรมกาย


เนื้อหาวิชชา ธรรมกาย
วิชชา ธรรมกาย เป็นวิชชาของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ที่ได้สูญหายไปหลังจากที่พระองค์ทรงปรินิพพานไปได้ 500 ปี โดยประมาณ และได้รับการค้นพบอีกครั้ง โดยการเอาชีวิตเข้าแลกของ พระมงคลเทพมุนี ( หลวงพ่อสด หรือ หลวงพ่อวัดปากน้ำ ภาษีเจริญ) หรือที่เรารู้จักกันในนาม " หลวงพ่อสด วัดปากน้ำ " นั่นเอง
การเรียนการสอนในสมัยที่ หลวงพ่อวัดปากน้ำ ยังมีชีวิตอยู่นั้น เป็นการสอนแบบปากต่อปาก โดยในวิชชาเบื้องต้น หลวงพ่อสด จะสอนเอง หรือให้ลูกศิษย์ของท่านเป็นผู้สอน ได้แก่ แม่ชีทองสุข สำแดงปั้น เป็นต้น แต่ในวิชชาชั้นสูงนั้น หลวงพ่อได้สอนกันหมู่ศิษย์ที่เป็น ธรรมกาย ชั้นสูงเท่านั้น โดยรวมกันทำวิชากันในกุฏิของหลวงพ่อ (สมัยนั้นเรียกว่า “ โรงงานทำวิชา ”) คนที่จะไปรู้เห็นเรื่องราวเหล่านี้ได้ ต้องเป็น วิชชา ธรรมกาย ชั้นสูง แล้วเท่านั้น เนื่องจากความละเอียด ซับซ้อน ของวิชชานั่นเอง ซึ่งยากที่บุคคลทั่วไปที่ไม่มีพื้นฐานมาก่อนจะเข้าใจได้
ดังนั้น ก่อนที่ท่านจะศึกษา วิชชา ธรรมกาย นั้น ขอท่านได้โปรดทำตามคำแนะนำต่อไปนี้
1. ขอท่านโปรดวางความรู้ดั้งเดิมที่ท่านเคยเคยได้รับรู้มาเสียก่อน (เท่าที่ท่านจะสามารถทำได้) เป็นการชั่วคราว ซึ่งความรู้ดั้งเดิมนั้น ได้แก่
- การเรียนวิชา ธรรมกาย ชั้นสูงจะต้องรอให้เห็นวิชชาเสียก่อน ถึงจะสามารถอ่านตำราวิชชา ธรรมกาย ได้ ท่านได้ตั้งข้อจำกัดให้กับตัวท่านเองแล้วโดยที่ไม่รู้ตัว ขอท่านลองคิดต่อไปว่า ตำราทำไว้ให้ท่านอ่าน ให้ท่านศึกษา ถ้าท่านไม่อ่าน ไม่ค้นคว้า ตำราที่เขียนไว้ก็ไม่มีประโยชน์ และความรู้ก็มีแต่จะกร่อนและสูญไปเรื่อย ๆ นั่นประการหนึ่ง และถ้าหากท่านไปเห็นวิชชาในตอนที่อายุมากแล้ว การศึกษาเรียนรู้ของท่านจะมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเทียบเท่ากับเมื่อท่านอายุยังน้อยได้หรือ? ขอท่านโปรดตรองเหตุผลนี้ดู และถ้าหากท่านไม่เห็นเลย ชาตินี้ท่านก็ไม่ได้อะไรไปเท่าไร ชาติหน้ามันแน่อยู่หรือ? ท่านแน่ใจหรือว่า ท่านจะพบกับวิชชาได้เหมือนกับชาตินี้?
- ถ้าอ่านตำราแล้ว การรู้เห็นก็จะเป็นไปตามตำรา ในประเด็นนี้ขอท่านทำความเข้าใจคร่าว ๆ ก่อนว่า วิชชา ธรรมกาย ได้รับการค้นพบและพัฒนาทางวิชชามาเป็นระยะเวลาหนึ่งแล้ว โดยประสบการณ์ของ หลวงพ่อวัดปากน้ำ และคณะศิษย์ที่ได้ทำวิชชามาแล้วในครั้งอดีต อย่างน้อย ๆ เป็นระยะเวลากว่า 30 ปี หลังจากนั้นจึงได้นำเอาประสบการณ์ทางวิชชาที่ได้ประสบมาหลายปีนั้นมาเขียนเป็นตำราวิชชา ธรรมกาย ขึ้นมา ถ้าท่านไม่อ่านตำรา ท่านก็จะต้องคิดค้นวิชชาเอาเอง ท่านต้องลองผิดลองถูกเอาเอง ท่านต้องใช้ระยะเวลากี่ปี กว่าที่ท่านจะสามารถค้นคว้าความรู้ได้เท่ากับที่ หลวงพ่อสด และคณะศิษย์ค้นคว้า ซึ่งเป็นการเสียเวลาในการศึกษาไป ดังนั้น ขอท่านโปรดอ่านตำรา และศึกษาตามตำราให้กระจ่างชัดเถิด หลังจากนั้น หากความรู้ของท่านพ้นเกินจากตำราของหลวงพ่อแล้ว จะเป็นบทบาทของท่านที่จะต้องคิดวิชชาใหม่ ๆ ต่อไป เป็นการต่อยอดความรู้ต่อไป และไม่ทำให้วิชชาสูญหายไปอีกด้วย
2. ขอให้ท่านศึกษาทุกวิชชาจากทุกตำราให้จบเสียก่อน โดยวิธีการอ่านให้จบทุกเล่ม ไม่ว่าท่านจะเข้าใจหรือไม่เข้าใจก็ตาม ยังไม่ต้องตัดสินอะไรทั้งนั้น ขอเพียงแค่อ่านให้จบเท่านั้นเอง แล้วท่านจะพบความลึกซึ้งและความเป็นเหตุเป็นผลของวิชชา ที่เชื่อมโยงกันได้อย่างอัศจรรย์ ซึ่งเชื่อว่า ในตำราเหล่านี้ จะต้องสามารถตอบข้อสงสัยของท่านได้อย่างแน่นอน
3. ท่านสามารถศึกษาโดยการอ่านได้จาก ตำราฉบับดั้งเดิม หรือหากท่านไม่เข้าใจในสำนวนภาษาแบบโบราณ (ในสมัยของ หลวงพ่อวัดปากน้ำ ) ก็ขอให้ท่านอ่านบทขยายความและแนวเดินวิชชา ซึ่งจัดทำโดย นาย การุณย์ บุญมานุช อดีตผู้ช่วยศึกษาธิการจังหวัดจันทบุรี ได้
4. ขอท่านโปรดศึกษาค้นคว้าในวิชาในหลักสูตรเบื้องต้นเสียก่อน เพื่อปูพื้นฐานความรู้ของท่าน จากนั้นค่อยยกระดับสู่วิชชา ธรรมกาย ในระดับที่สูงกว่าต่อไป หรือถ้าท่านจะศึกษาจากวิชชา ธรรมกาย ชั้นสูงก่อนก็ย่อมได้ แต่ขอท่านอย่าเพิ่งด่วนตัดสินผิดถูก ขอให้อ่านให้ทั่วเสียก่อน ให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมดเสียก่อน ให้เข้าใจอย่างแท้จริงเสียก่อน หลังจากนั้น หากท่านจะวิเคราะห์วิจารณ์ด้วยเหตุผลประการใด ก็ย่อมทำได้ แต่ในเบื้องต้นนี้ ขอเพียงท่านน่าจะมีข้อมูลที่ชัดเจน ถูกต้องและครบถ้วนเสียก่อน

วันอังคารที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

Thé

Le thé est une boisson stimulante, obtenue par infusion des feuilles du théier, préalablement séchées et le plus souvent oxydées.
D'origine chinoise, où il est connu depuis l'Antiquité, le thé est aujourd'hui la boisson la plus bue au monde après l'eau. La boisson elle-même peut prendre des formes très diverses : additionnée de lait et de sucre au Royaume-Uni, longuement bouillie avec des épices en Mongolie, préparée dans de minuscules théières dans la technique chinoise du gōngfū chá, la cérémonie du thé.
Par analogie, le mot désigne, dans certaines régions francophones une infusion préparée à partir d'autres plantes (par ex. thé de tilleul) bien que l'on doive parler plus proprement de tisane. Il en est de même dans certains pays où le thé ne fait pas partie d'une culture ancienne (Allemands ou Italiens parlent ainsi de "Tee" et de "Tè" quelle que soit la plante utilisée) et où le café prédomine largement le secteur des boissons chaudes.

Le mot « thé »
Le sinogramme pour thé est 茶 qui a deux prononciations différentes suivant les dialectes. Et le mot signifiant thé dans presque toutes les langues du monde dérive de l'une ou l'autre de ces deux prononciations.
La prononciation officielle (aussi utilisée en cantonais et en mandarin), qui s'est sans doute répandue depuis Canton et Hong Kong, est chá, et vient du mot cueillir. Plusieurs langues l'ont empruntée dont le portugais (chá), le tchèque (tchaï), le russe (tchaï), le japonais (茶, ちゃ, cha), l'arabe (chaï), le hindi (chaï), le turc, l'arménien oriental et le persan. Le vietnamien vient de cette orthographe également, mais le mot a évolué pour devenir trà, cependant, dans certains dialectes, la prononciation "chà" est restée.
L'autre prononciation est te qui vient du chinois désignant cette boisson dans le dialecte minnan, parlé notamment dans le Sud du Fujian où se trouve le port de Fuzhou aussi appelé Amoy par les Malais et qui servit de base à l'exportation des premiers thés par mer.
Les Hollandais qui introduisirent le thé en Europe en 1606, l'ayant acheté à Java, le nommèrent thee, d'où le français thé, l'anglais tea, l'allemand Tee, etc.
Dans les pays où la prononciation commence par "ch" le thé s'est répandu par les terres et surtout au début par la Russie, alors que dans les pays où la prononciation commence par "te" il s'est répandu par la mer.
En Amérique du Sud le thé est parfois désigné par un terme sans relation aucune avec le chinois. Une autre boisson stimulante, le maté, était consommée bien avant l'introduction du thé, aussi dans différents endroits d'Amérique du Sud, tout particulièrement dans les pays andins, le thé est appelé maté.

Thé vert
Le thé vert est un thé dont les feuilles, après la cueillette, seront le plus souvent flétries et chauffées à haute température, afin de neutraliser les enzymes responsables de l'oxydation. Elles seront ensuite roulées et séchées plusieurs fois afin d'obtenir une forme particulière. On peut distinguer deux méthodes principales pour obtenir du thé vert. La méthode chinoise, d'une part, par laquelle les feuilles sont chauffées dans de grandes bassines de cuivre placées sur le feu ; la méthode japonaise, d'autre part, par laquelle les feuilles seront chauffées à la vapeur, très brièvement, en moins d'une minute, avant d'être roulées et séchées.

วันอาทิตย์ที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

ดอกแก้วกัลยา


ดอกแก้วกัลยา คือชื่อดอกไม้ชนิดหนึ่งซึ่งสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามดอกไม้ประดิษฐ์โดยคนพิการของศูนย์ส่งเสริมอาชีพและพัฒนาคนพิการ ทั้งยั้งทรงพระราชทานพระอนุญาตให้ใช้เป็นดอกไม้สัญลักษณ์ ของคนพิการ
ที่มาของชื่อ ดอกแก้วกัลยา
สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานนามดอกไม้ประดิษฐ์โดยคนพิการของศูนย์ส่งเสริมอาชีพและพัฒนาคนพิการ สภาสังคมสงเคราะห์ฯ ว่า "ดอกแก้วกัลยา" ทั้งทรงพระราชทานพระอนุญาตให้ใช้เป็นดอกไม้สัญลักษณ์ ของคนพิการ และทรงมีพระดำรัสให้ฝึกอบรมวิชาชีพคนพิการเพื่อประดิษฐ์ดอกแก้วกัลยา ให้คนพิการมีรายได้เลี้ยงตัวเองและครอบครัว เมื่อวันที่ 25 มีนาคม พ.ศ. 2547 ตามที่ศูนย์ส่งเสริมอาชีพฯ ได้มีหนังสือขอพระราชทานพระอนุญาต
ดอกแก้วกัลยาได้จดลิขสิทธิ์ 2 ฉบับ คือ
1.ในนามสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ และทรงมอบให้คณะกรรมการส่งเสริมอาชีพ ฯ เป็นเจ้าของลิขสิทธิ์
2.ในนามศูนย์ส่งเสริมอาชีพและพัฒนาคนพิการ
สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ดอกแก้วกัลยานั้นเป็นดอกไม้ในจินตนาการ มาจากดอกไม้ 2 ชนิดด้วยกันคือ
ดอกแก้ว และดอกแก้วเจ้าจอม ที่มีกลีบดอกสีฟ้าคราม ซึ่งดอกแก้วทั้ง 2 ชนิดนี้เป็นดอกไม้ยืนต้นที่แข็งแรง ใบสวยงาม ออกดอกเป็นพวง ให้ความหมายเปรียบเทียบประดุจคนเราทุกคนมีน้ำใจเป็นหนึ่งเดียว เพราะฉะนั้นความหมายโดยรวมของดอกแก้วกัลยานั้นคือ ดอกไม้จากนางแก้ว ที่มีน้ำพระหฤทัยสดใส ให้แสงสว่างอบอุ่นกับมวลหมู่คนพิการในแผ่นดินไทย ดั่งน้ำพระหฤทัยจากองค์สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์