Thank...you

+++ขอบคุณสำหรับการเข้ามาชมบล็กนะค่ะ+++

วันพฤหัสบดีที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Noël


Noël est une fête chrétienne célébrant chaque année la naissance de Jésus-Christ, appelée Nativité. À l'origine de cette fête existaient déjà sous forme de différentes fêtes païennes qui marquaient le solstice d'hiver. Au XXIe siècle, Noël a toutefois retrouvé un large rôle païen. Elle est devenue une fête commerciale et un moment de l'année célébré, y compris par les non-croyants. Cette fête est associée aux cadeaux et, pour les enfants, au Père Noël.
Noël est actuellement fixé au
25 décembre dans les calendriers grégorien et julien par la plupart des Églises.
Célébration
Sa célébration à la date du 25 décembre, se situe dans le calendrier julien pour les Églises orthodoxes, et dans le grégorien pour l'église catholique et protestante ; le jour de la saint Emmanuel, a été fixée tardivement dans l'empire romain d'Occident, vers le milieu du IVe siècle. Avant de la placer à la date d'une célébration solaire liée au solstice d'hiver, plusieurs dates furent proposées : 18 novembre, 6 janvier... Le 25 décembre marquait depuis Aurélien (v.270) l'anniversaire du Sol Invictus et de la renaissance annuelle de Mithra. Pour des raisons symboliques, et dans un souci de christianiser les anciennes fêtes païennes, cette date fut progressivement étendue à tout l'Occident latin. Les Églises orthodoxes, qui ont conservé le calendrier julien, célèbrent Noël le 25 décembre de ce calendrier, ce qui correspond au 6 janvier du calendrier grégorien. Seule l'Église apostolique arménienne a conservé la date précise du 6 janvier comme jour de la fête de Noël.
Constituant avec
Pâques une des grandes fêtes chrétiennes, Noël s'est progressivement chargé de traditions locales, mélanges d'innovations et de maintien de folklore ancien, au point de présenter l'aspect d'une fête profane populaire possédant de nombreuses variantes, dans le temps comme dans l'espace. L'association de la mémoire d'une naissance a facilité la place centrale prise par la famille dans le sens et le déroulement de cette fête. L'Église catholique romaine insiste par exemple sur cet aspect depuis l'instauration en 1893 de la fête de la Sainte Famille, le dimanche suivant le 25 décembre. Les cadeaux, sous forme d'étrennes, semblent être une réminiscence des cadeaux effectués lors des fêtes saturnales de décembre (strenae).
Le don est présent dans de nombreuses traditions, comme celle de servir un repas au premier pauvre croisé au jour de Noël, ou dans l'exceptionnelle générosité des aumônes accordées aux mendiants à la sortie de l'office célébré durant la nuit de Noël. « La période de Noël, qui est très chargée cérémoniellement, possède une certaine intensité rituelle. Même si nous vivons fondamentalement dans une société marchande, il y a dans cet échange de cadeaux quelque chose qui est de l'ordre du don et qui est universel dans son principe: ils créent, maintiennent et consolident des liens ; ils constituent en quelque sorte une matrice du social.»
La popularité de cette fête a fait que
Noël est devenu un patronyme et un prénom.

วันจันทร์ที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2552

มงคล . . . กระเช้าของขวัญวันปีใหม่



สีชมพู หมายถึงความรักที่คงทนและไร้เงื่อนไข ในความหมายด้านสุขภาพพลานามัย สีชมพูจะช่วยสร้างสมดุลระหว่างสุขภาพกายและใจ นอกจากนั้น สีชมพู ยังเป็นสีประจำพระชนมายุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และเชื่อกันว่าการใช้สีชมพู จะเป็นการร่วมถวายพระพรให้พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระพลานามัยแข็งแรงสมบูรณ์




สีเหลือง หมายถึงความเจิดจ้า ความสว่างไสว ความเชื่อใจ สีเหลืองเป็นสัญลักษณ์ของชีวิตใหม่และชีวิตที่ดีขึ้น การมอบกระเช้าสีเหลืองจึงเปรียบเสมือนการนำชีวิตไปสู่ความเจริญรุ่งเรือง




สีน้ำเงิน เป็นสีที่แสดงถึงความสง่างาม มีศักดิ์ศรี มีความสงบและสุขุม การมอบกระเช้าสีน้ำเงินจึงเป็นการส่งคำอวยพรให้ผู้รรับมีความมั่นคง แข็งแรง และมีศักดิ์ศรี



เขียว สีประจำวันพุธที่สื่อถึง ความเจริญงอกงามและโชคลาภ ความสดชื่นและความเจริญเติบโต การมอบกระเช้าสีเขียวจึงเป็นคำอวยพรที่ดีเพื่อความเจริญรุ่งเรือง


สีแดง คือสีแห่งมงคล ความสุขและความเจริญ ความภาคภูมิใจ ความตื่นตัว ความกล้าหาญ ความโชคดี มั่งคั่งร่ำรวย เงินทอง














































































วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2552

วันเสาร์ที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2552

8 ขั้นตอน ต้อนรับผมสวย


ขั้นตอนที่ 1...นวดวนทั่วทั้งศีรษะ

เป็นท่านวดเพื่อเป็นการส่งผลิตภัณฑ์บำรุงผมที่ใช้ซึมซาบเข้าบำรุงหนังศีรษะเต็มที่ โดยใช้ปลายนิ้วทั้ง 10 โอบรอบหนังศีรษะ แล้วนวดทวนเข็มนาฬิกา โดยลงน้ำหนักให้ทำกันทุกนิ้ว ทำซ้ำ 3 รอบ

ขั้นตอนที่ 2...กระตุกเส้นผม

เพื่อกระตุ้นกล้ามเนื้อหนังศีรษะ อีกทั้งยังเป็นการกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตและน้ำเหลืองช่วยให้ผ่อนคลาย เริ่มจากจับผมเป็นชุดๆ โดยเริ่มจากหน้าผากช่วงกึ่งกลางศีรษะแล้วใช้นิ้วพันเส้นผมตามที่แบ่งไว้ กระตุกปอยผมนั้นเป็นจังหวะ 3 ครั้ง ต่อเนื่อง ทำเช่นนี้ทั่วทั้งศีรษะ แต่ระวังอยากกระตุกแรง

ขั้นตอนที่ 3...ผ่อนคลายจากโคนจรดปลายผม

ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางกดลงบนบริเวณขมับและให้นิ้วหัวแม่มือวนอยู่ที่บริเวณท้ายทอย นวดวนยกขึ้นให้ทั่วทั้งศีรษะ โดยไล่จากท้ายทอยขึ้นข้างบนจากนั้นลูบเส้นผมขึ้นจากโคนจรดปลาย

ขั้นตอนที่ 4....นวดกดจุดทั่วทั้งหนังศีรษะ

ย้ำให้ผลิตภัณฑ์บำรุงเส้นผมทำงานได้ดียิ่งขึ้น ใช้นิ้วทั้ง 10 นวดกดจุดจากตรงกลางศีรษะวางน้ำหนักไว้ที่กึ่งกลางศีรษะไล่ลงมาถึงท้ายทอยและแยกไปที่ข้างใบหู

ขั้นตอนที่ 5...นวดใต้ท้ายทอยให้ผ่อนคลาย

ใช้นิ้วหัวแม่มือทั้งสองข้างกดที่ท้ายทอยประมาณ 3 วินาที แล้วลากออกด้านข้างตามแนวฐานกะโหลกศีรษะไปจนถึงปลายติ่งหู ทำซ้ำ 3 ครั้ง

ขั้นตอนที่ 6...ปลอดปล่อยความเมื่อยล้

ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางกดนวดบริเวณท้ายทอยไล่ลงมาสู่ต้นคอ จากนั้นกดค้างไว้ 3 นาทีและเว้นระยะห่างแบ่งเป็น 3 จุด ทำซ้ำ 3 ครั้ง และไม่ควรทำย้อนขึ้น

ขั้นตอนที่ 7...กดจุดให้หลับสบาย

ใช้นิ้วชี้และนิ้วกลางกดบริเวณท้ายทอยเพียงจุดเดียว กดค้างไว้ประมาณ 3 วินาทีแล้วจึงค่อยๆ คลายน้ำหนักลง ทำซ้ำ 3 ครั้ง และหากใช้มืออีกข้างประคองศีรษะของผู้ที่ได้รับการนวด จะเป็นการช่วยให้รู้สึกผ่อนคลายและหลับสบายยิ่งขึ้น

ขั้นตอนที่ 8...ผ่อนคลายทั่วทั้งตัว

บีบนวดกล้ามเนื้อโดยเริ่มจากบริเวณไหล่ไล่ลงมายังบริเวณต้นแขน และบีบนวดเป็นจังหวะสม่ำเสมอไล่ลงมาเรื่อยๆ และนวดวนบริเวณกลางฝ่ามือ ก่อนไล่ลงจนที่ปลายนิ้วเป็นอันเสร็จพิธีการ

วันอังคารที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2552

Romantic Art Festival at Suanphung








ชื่ื่องาน : Romantic Art Festival at Suanphung
ชื่อตอน : Candle in the Winter 2009
สถานที่ : The Scenery Resort & Farm สวนผึ้ง ราชบุรี
กำหนดวัน :เสาร์ที่ 5**, 12, 19, 26 ธันวาคม 2552 และเสาร์ที่ 2 มกราคม 2553 (**วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม 2552 งดจำหน่ายเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของแอลกอฮอล์)
เวลา : 17:00 - 23:00 น.
ราคาบัตร : 500 บาท (ไม่รวมอาหารและเครื่องดื่ม)
วิธีการสำรองที่นั่ง : www.suanphungfestival.com/reserv.php
สอบถามข้อมูล : โทร. +66 (0) 84 913 0055 (วันจันทร์ ถึง วันเสาร์


วันเสาร์ที่ 5 ธันวาคม พ.ศ. 2552

ดอกไม้วันพ่อ


วันที่ 5 ธันวาคม ของทุกปี เป็นวันพ่อแห่งชาติ กำหนดขึ้นครั้งแรก ในปี 2523 และกำหนดให้ ดอกพุทธรักษาสีเหลือง เป็นดอกไม้สัญลักษณ์ประจำวันพ่อ
“พุทธรักษา” ซึ่งหมายถึง พระพุทธเจ้าทรงปกป้องคุ้มครอง ให้มีแต่ความสงบสุขร่มเย็น ซึ่งมีเรียกกันมากว่า 200 ปี และสีเหลืองอันเป็นสีประจำวัน พระราชสมภพขององค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ของปวงชนชาวไทย การมอบดอกพุทธรักษาให้กับพ่อ จึงเสมือนกับการบอกถึง ความรักและเคารพบูชาพ่อ ผู้สร้างความสงบสุขร่มเย็นให้แก่ครอบครัว
คนไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นพุทธรักษาไว้ประจำบ้านจะช่วยปกป้องคุ้มครอง ไม่ให้มีเหตุร้ายหรืออันตรายเกิดแก่บ้านและผู้อาศัย เพราะพุทธรักษาเป็นพรรณไม้ที่เชื่อกันว่า มีพระเจ้าคุ้มครองรักษาให้มีความสงบสุข คือเป็นไม้มงคลนามนั่นเอง

วันพุธที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2552